2 .6 ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุอีกกลุ่มหนึ่งในตารางธาตุซึ่งมีสมบัติแตกต่างจากธาตุที่เคยศึกษามาแล้วคือสามารถแต่งแล้วกลายเป็นอะตอมของธาตุใหม่ได้นักเรียนคิดว่าการเปลี่ยนแบลงเหล่านี้เกิดขึ้นได้อย่างไรในปีพ.
ศ. 2430 อองตวนอองรีแบทเกอเรส (Antoine Fitnri Becquerel) นักวิทยาศาสตร์ขาวฝรั่งเศสพบว่าเมื่อเก็บแผ่นฟิล์มถ่ายรูปที่หุ้มด้วยกระดาษสีดำไว้กับสารประกอบของยูเรเนียมแผนฟิล์มจะมีลักษณะเหมือนถูกแสงและเมื่อทำการทดลองกับสารประกอบของยูเรเนียมชนิดอื่น
ๆ ก็ได้ผลเช่นเดียวกันจึงสรุปว่าน่าจะมีรังสีแผ่ออกมาจากธาตุยูเรเนียมต่อมาปีแอร์ตูรีและมารี
Pierr Curie Marie Curie) ได้ค้นพบว่าธาตุพอโลเนียมเรเดียมและพอเรียมก็สามารถแผ่รังสีได้เช่นเดียวกันปรากฏการณ์ที่ธาตุแผ่รังสีได้เองอย่างต่อเนื่องเรียกว่ากัมมันตภาพรังสี
(Tradioactivity) ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียสของไอโซโทปที่ไมเสถียรและไอโซโทปของธาตุที่สามารถแผ่รังสีใต้เองอย่างต่อเนื่องเรียกว่าไอโซโทปกัมมันตรังสี
(radioactive Isotoppe) หรือสารกัมมันตรังสี (radioactive substance) เช่น Carbon-14 (C-14)
สำหรับธาตุที่ทุกไอโซโทปเป็นไอโซโทบกัมมันตรังสีจะเรียกธาตุที่มีสมบัติเช่นนี้วาธาตุกัมมันตรังสี
radioactive element) ธาตุกัมมันตรังสีส่วนใหญ่มีเลขอะตอมสูงกว่า 837 เช่น U-238 U-235 Th-232
ในธรรมชาติพบธาตุกัมมันตรังสีหลายสชนิด
นอกจากนี้นักวิทยาศาสตร์ยังสังเคราะห์ธาตุกัมมันตรังสีขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์ในด้านต่าง
ๆ
2. 4. 1
วิวัฒนาการของการสร้างตารางธาตุเมื่อมีการค้นพบธาตุและศึกษาสมบัติของธาตุต่าง ๆ
เหล่านี้แล้วนักวิทยาศาสตร์ได้หาความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติต่าง ๆ
ของธาตุและนำมาใช้จัดธาตุเป็นกลุ่มใต้หลายแบบในปีพ. ศ. 2360
โยฮันน์โวล์ฟกังเดอเบอไรเนอร์ (Johann Wolfgang Dobereiner) เป็นนักเคมีคนแรกที่พยายามจัดธาตุเป็นกลุ่ม
ๆ ละ 3 ธาตุตามสมบัติที่คล้ายคลึงกันเรียกว่าชุดสาม (triads)
โดยพบว่าธาตุกลางจะมีมวลอะตอมเป็นค่าเฉลี่ยของมวลอะตอมของอีกสองธาตุที่เหลือ
Na มีมวลอะตอม 23. 0
และเป็นธาตุกลางระหว่าง Li กับ K ซึ่งมีมวลอะตอม
6. 9 และ 39. 1
ตามลำดับตัวอย่างการจัดธาตุแบบชุดสามแสดงได้ดังตาราง 2. 8
แต่เมื่อนำหลักของชุดสามไปใช้กับธาตุกลุ่มอื่นที่มีสมบัติคล้ายกันพบว่าค่ามวลอะตอมของธาตุกลางไม่เท่ากับค่าเฉลี่ยของมวลอะตอมของสองธาตุที่เหลือหลักชุดสามของเดอเบอไรเนอร์จึงไม่เป็นที่ยอมรับในเวลาต่อมา
ในปี 2412
ยูลิอุสโลทาร์ไมเออร์ (Julius Lothar Meyer) นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันและดิมิทรีเมนเดเลเอพ
(Dinitr Mendeley) นักวิทยาศาสตร์ชาวรัสเซียได้ศึกษารายละเอียดของธาตุต่าง
ๆ
มากขึ้นทําให้มีข้อสังเกตว่าถ้าเรียงธาตุตามมวลอะตอมจากน้อยไปมากจะพบว่าธาตุมีสมบัติคล้ายกันเป็นช่วง
ๆ การที่ราดต่างบนขวง ๆ การที่ธาตุต่าง ๆ
มีสมบัติคล้ายกันเป็นช่วงเขนนี้เมนเตเลเอฟตั้งเป็นกฎเรียกว่ากฎพรีออติก (periodic
law) การจัดราตุเป็นหมวดหมู่ของเมนเดเลเอฟไม่ได้ขีดการเรียงลำดับตามมวลอะตอมจากน้อยไปมากเพียงอย่างเดียวแต่ได้นำสมบัติที่คล้ายคลึงกันของธาตุที่ปรากฏซ้ำกันเป็นช่วง
ๆ มาพิจารณาด้วยนอกจากนี้ยังได้เว้นช่องวางไว้โดยคิดว่าน่าจะเป็นตำแหน่งของธาตุที่ยังไม่ได้มีการค้นพบโดยที่ตำแหน่งของธาตุในตารางธาตุมีความสัมพันธ์กับสมบัติของธาตุเมนเตเลเอฟจึงได้ทำนายสมบัติของธาตุที่ยังไม่มีการค้นพบ
3
ธาตุให้ชื่อว่าเอคา-โบรอนเอคาอะลูมิเนียมและเอคา-ซิลิคอนในเวลาต่อมาก็ได้ค้นพบธาตุสแกนเดียมแกลเลียมและเจอร์เมเนียมตามลำดับซึ่งมีสมบัติใกล้เคียงกับที่ได้ทำนายไว้ตัวอย่างธาตุเอคา-ซิลิคอนซึ่งมีสมบัติใกล้เคียงกับธาตุเจอร์เมเนียมเป็นดังนี้
2
กลุ่มของธาตุในตารางธาตุการที่นักวิทยาศาสตร์จัดรายในขนตารางธาตุเป็นหมู่และคาบเพื่อให้ง่ายต่อการศึกษาสมบัติของธาตุต่าง
ๆ ตาแบงกลุ่มธาตุตามสมบัติความเป็นโลหะจะแบ่งได้เป็น 3
กลุ่มคือธาตุโลหะ (metal) เป็นธาตุที่น้าไฟฟ้าและนำความร้อนได้ดีราตถึงโลหะ
(metaloid) เป็นธาตุที่น้ำไฟฟ้าได้ไม่ดีที่อุณหภูมงแต่จะนำได้ดีขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นและธาตุอโลหะ
nonmetal) ซึ่งใน * 9105Mะ nonmetal)
ซึ่งไม่น่าไฟฟ้ายกเว้นคาร์บอนแกรไฟต์)
และฟอสฟอรัสเมื่อพิจารณาตำแหน่งของธาตุในตารางธาตุตามรูป 2. 19
พบว่าธาตุโลหะอยู่ทางด้านซ้ายมือของตารางธาตุ (สีเขียว)
ธาตุกึ่งโลหะจะอยู่บริเวณที่เป็นขั้นบันไดสีชมพู)
และธาตุอโลหะจะอยู่ขวามือของตารางธาตุ (สีฟ้า) ยกเว้นไฮโดรเจนอยู่ทางด้านซ้ายมือของตารางธาตุถ้าแบ่งกลุ่มธาตุในตารางธาตุโดยพิจารณาการจัดเรียงอิเล็กตรอนในออร์บิทัล
s p d และ f ที่มีพลังงานสูงสุดและมีอิเล็กตรอนบรรจุอยู่จะแบ่งธาตุได้เป็น
4 กลุ่มใหญ่คือธาตุกลุ่ม s ได้แก่ธาตุ
1 และ 2 ธาตุกลุ่ม p ได้แก่
ธาตุในหมู่ 13 ถึง 18 (ยกเว้น
Fie) ธาตุกลุ่ม A ได้แก่
ธาตุในหมู่ 12 ส่วนธาตุในกลุ่ม f ได้แก่
กลุ่มธาตุที่อยู่ด้านล่างของตารางธาตุที่แยกมาจากหมู่ 3
คาบที่ดังรูป
2 13
นนาดอะตอมตามแบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนที่อยู่รอบนิวเคลียสจะเผสือนที่ตลอดเวลาด้วยความเร็วสูงและไม่สามารถบอกตำแหน่งที่แน่นอนรวมทั้งไม่สามารถกำหนดขอบเขตที่แน่นอนของอิเล็กตรอนได้นอกจากนี้อะตอมโดยทั่วไปไม่อยู่เป็นอะตอมเดียวแตจะมีแรงยึดเหนียวระหว่างอะตอมไว้ด้วยกันจึงเป็นเรื่องยากที่จะวัดขนาดอะตอม
(atomic radius) ที่อยู่ในภาวะอิสระหรือAxนั้นเidเสริมพฯกนวมยาศาคตและเทคโนโลยี
2. 4. 4
ขนาดไอออนอะตอมซึ่งมีจำนวนโปรตอนเทากับอิเล็กตรอนเมื่อรับอิเล็กตรอนเพิ่มเข้ามา 28
/ แuอะตอมจะกลายเป็นไอออนการบอกขนาดของไอออนทำได้เช่นเดียวกับการบอกขนาดอะตอมAdาวคอจะบอกเป็นค่ารัศมีไอออน
(Ionic radius) ซึ่งพิจารณาจากระยะระหว่างนิวเคลียสของไอออนคู่หนึ่ง
ๆ ที่ยึดเหนี่ยวซึ่งกันและกันในโครงผลึกตัวอย่างรัศมีไอออนของ ME และ
0 ในสารประกอบ MgO แสดงดังรูป
2. 22 และ 2. 23
พลังงานไอออไนเซชั้นพลังงานปริมาณน้อยที่สุดที่ทำให้อิเล็กตรอนหลุดจากอะตอมในสถานะ
(Anninition energy. IF โดยคา IE แสดงถึงความยางานในการท้าให้อะตอมในสถานะแก็สกลายเป็นไอออนบวกโดยเEน้อยแสดงราทำให้เป็นใอออนบวกได้รายเด้า
1
มกแสดงว่าทำให้เป็นไอออนบวกได้ยากการทำาให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะแก็สกลายเป็นไฮโดรเจนไอออนในสถานะแก็สเขียนgE)
• I "(H) + (การท้าให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมของไฮโดรเจนจะต้องใช้พลังงานอย่างน้อยที่สุดกิโลจูลต่อโมลนั้นคือพลังงานไอออไนเซชันของไฮโดรเจนอะตอมเท่ากับ
1315
กิโลจูลตอไมลอิเล็กตรอนจึงมีค่าพลังงานไอออไนเซชันเพียงคาเดียวถ้าเป็นธาตุที่มีหลายอิเล็กตรอนก็จะมีพลังงานไอออไนเซชันหลายค่าพลังงานน้อยที่สุดที่ทำให้อิเล็กตรอนตัวแรกหลุดออกสัญลักษณ์ของพลังงานได้สมในเซชั่น
IPM ให้เป็น 2
2019.09.11 วันพุธ
2. 6สาตุกัมมันตรังสีธาตุอีกกลุ่มหนึ่งในตารางธาตุซึ่งมีสมบัติแตกต่างจากธาตุที่เคยศึกษามาแล้วคือสามารถแต่งแล้วกลายเป็นอะตอมของธาตุใหม่ได้นักเรียนคิดว่าการเปลี่ยนแบลงเหล่านี้เกิดขึ้นได้อย่างไรในปีพ.
ศ. 2430 อองตวนอองรีแบทเกอเรส (Antoine Fitnri
Becquerel) นักวิทยาศาสตร์ขาวฝรั่งเศสพบว่าเมื่อเก็บแผ่นฟิล์มถ่ายรูปที่หุ้มด้วยกระดาษสีดำไว้กับสารประกอบของยูเรเนียมแผนฟิล์มจะมีลักษณะเหมือนถูกแสงและเมื่อทำการทดลองกับสารประกอบของยูเรเนียมชนิดอื่น
ๆ
ก็ได้ผลเช่นเดียวกันจึงสรุปว่าน่าจะมีรังสีแผ่ออกมาจากธาตุยูเรเนียมต่อมาปีแอร์ตูรีและมารี
Pierr Curie Marie Curie) ได้ค้นพบว่าธาตุพอโลเนียมเรเดียมและพอเรียมก็สามารถแผ่รังสีได้เช่นเดียวกันปรากฏการณ์ที่ธาตุแผ่รังสีได้เองอย่างต่อเนื่องเรียกว่ากัมมันตภาพรังสี
(Tradioactivity) ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียสของไอโซโทปที่ไมเสถียรและไอโซโทปของธาตุที่สามารถแผ่รังสีใต้เองอย่างต่อเนื่องเรียกว่าไอโซโทปกัมมันตรังสี
(radioactive Isotoppe) หรือสารกัมมันตรังสี (radioactive
substance) เช่น Carbon-14 (C-14) สำหรับธาตุที่ทุกไอโซโทปเป็นไอโซโทบกัมมันตรังสีจะเรียกธาตุที่มีสมบัติเช่นนี้วาธาตุกัมมันตรังสี
radioactive element) ธาตุกัมมันตรังสีส่วนใหญ่มีเลขอะตอมสูงกว่า 837
เช่น U-238 U-235 Th-232 ในธรรมชาติพบธาตุกัมมันตรังสีหลายสชนิด
นอกจากนี้นักวิทยาศาสตร์ยังสังเคราะห์ธาตุกัมมันตรังสีขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์ในด้านต่าง
ๆ
2.
6. 1
การเกิดกัมมันตภาพรังสีกัมมันตภาพรังสีเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดกับไอโซโทปกัมมันตรังสีเพราะนิวเคลียสมีพลังงานสูงมากและไม่เสถียรจึงปล่อยพลังงานออกมาในรูปของอนุภาคหรือรังสีจากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์แสดงให้เห็นว่ารังสีที่แผ่ออกมาจากไอโซโทปกัมมันตรังสีอาจเป็นรังสีแอลฟา
(alpha ray) รังสีบีตา (beta ray) หรือแกมมา
(gamma ray
2.6.2การสลายตัวของไอโซโทปกัมมันตรัมจากการศึกษาไอโซโทปของธาตุจํานวนมากทำให้ได้ข้อสังเกตว่าไอโซโทปของนิวเคลีนสที่มีอัตราส่วนระหว่างจ้านวนนิวตรอนตอจำนวนโปรตอนไม่เหมาะสมคือนิวเคลียสที่มีจานวนนิวตรอนแตกต่างจากฐานวนโปรตอนมากเกินไปจะไม่เสถียรจึงเกิดการเปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียสโตนการแผ่รังสี
(radiation) ออกมาแล้วเกิดเป็นนิวเคลียสของธาตุใหม่ที่เสถียรกว่าดังตัวอย่างต่อไปนี้การแผ่รังสีแอลฟาส่วนใหญ่เกิดกับนิวเคลียสที่มีเลขอะตอมสูงกว่า
83
และมีจำนวนนิวตรอนต่อโปรตอนในสัดส่วนที่ไม่เหมาะสมเมื่อปล่อยรังสีแอลฟาออกมาจะกลายเป็นนิวเคลียสของธาตุใหม่ที่เสถียรซึ่งมีเลขอะตอมลดลงและเลขมวลลดลง
4
การแผ่รังสีบีตาเกิดกับนิวเคลียสที่มีจำนวนนิวตรอนมากกว่าโปรตอนมากนิวตรอนในนิวเคลียสละเปลี่ยนไปเป็นโปรตอนและอิเล็กตรอนซึ่งอิเล็กตรอนจะถูกปลดปล่อยออกจากนิวเคลียสในรูปของรังสีบีตาและนิวเคลียสใหม่จะมีเลขอะตอมเพิ่มขึ้น
1 โดยที่เลขมวลยังคงเดิม
การแผ่รังสีแกมมาเกิดกับไอโซโทปกัมมันตรังสีที่มีพลังงานสูงมากหรือไอโซโทปที่สลายตัวให้รังสีแอลฟาหรือบีตาแต่นิวเคลียสที่เกิดใหม่ยังไม่เสถียรเพราะมีพลังงานสูงจึงเกิดการเปลี่ยนแปลงในนิวเคลียสเพื่อให้มีพลังงานต่ำลงโดยปล่อยพลังงานสวนเกินออกมาเป็นรังสีแกมมา
2. 6. 3
อันตรายจากไอโซโทปกัมมันตรังสีกิจวัตรต่างในชีวิตประจำวันทั้งการรับประทานอาหารการดื่มน้ำการหายใจล้วนมีโอกาสมนษย์จะได้รับรังสีจากไอโซโทปกัมมันตรังสีเช่น
K-40 C-14 Ra-226 เข้าสร่างกายนอกจากนี้ะได้รับรังสีคอสมิก (Cosmic
ray) ซึ่งส่วนใหญ่มาจากอวกาศรังสีต่าง ๆ
เหล่านี้มีแหล่งกำเนิดจากธรรมชาตินอกจากนี้บางคนยังได้รับรังสีที่มนุษย์สร้างขึ้นมา
เช่น รังสีจากเครื่องเอกซเรย์รังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
2.6.4 ครึ่งชีวิตของไอโซโทปกัมมันตรังสีไอโซโทปกัมมันตรังสีจะสลายตัวให้รังสีชนิดใดชนิดหนึ่งออกมาได้เองตลอดเวลาไอโซโทปรับมันตรังสีแต่ละชนิดจะสลายตัวได้เร็วหรือช้าแตกต่างกันอัตราการสลายตัวของไอโซโทปกัมมันตรังสีจะบอกเป็นครึ่งช่วด
(half life) ใช้สัญลักษณ์ระยะเวลาที่นิวเคลียสของไอโซโทปกัมมันตรังสีสลายตัวจนเหลือครึ่งหนึ่งของปริมาณเดิมไอโซโทบกัมมันตรังสีของธาตุชนิดหนึ่ง
ๆ จะมีครึ่งชีวิตคงเดิมไม่ว่าจะอยู่ในรูปของธาตุหรือเกิดเป็นสารประกอบเขน Na-24
มีครึ่งชีวิต 15 หมายความว่าถ้าเริ่มต้นมี Na-24
ปริมาณ 10 กรัมนิวเคลียลนี้จะสลายตัวให้รังสีออกมาจนกระทั่งเวลาผ่านไปครบ
15 ชั่วโมงจะมี Na-24
เหลืออยู่ 5 กรัมและเมื่อเวลาผ่านไปอีก 15
ชั่วโมงจะมี Na-24 เหลืออยู่ 2. 5
กรัมนั้นคือเวลาผ่านไปทุก ๆ 15 ชั่วโมง Na-24
จะสลายตัวไปเหลือเพียงครึ่งหนึ่งของปริมาณเดิมเขียนแสดง
2. 6. 5
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ปธกิริยานิวเคลียร์เป็นการเปลี่ยนแปลงในนิวเคลียสของไอโซโทปกัมมันตรังสีอาจเกิดจากการะหรือเกิดจากการรวมตัวของนิวเคลียสของอะตอมมาดเล็กแล้วได้ไอโซโทปใหม่หรือนิวเคลียสของธาตุใหม่รวมทั้งมีพลังงานเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาเป็นจำนวนมหาศาลซึ่งสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ในปีพ.
ศ. 2482
นักวิทยาศาสตร์ได้ค้นพบว่าเมื่อยิงอนุภาคนิวตรอนไปยังนิวเคลียสของ U-235
นิวเคลียสจะแตกออกเป็นนิวเคลียสของธาตุที่เบากว่า
2.6.6 เทคโนโลยีการใช้ักัมมันตรังสี
2.6.6 เทคโนโลยีการใช้ักัมมันตรังสี
2.7 การนำธาตุเปใช้ประโยชน์และผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตมนุษย์นำธาตุมาใช้ประโยชน์ตั้งแต่อดีตกาลเช่นน้ำทองค้ามาทำเครื่องประดับนำเหล็กมาทำมีดน้ำหองแดงมาห้าภาชนะเครื่องใช้ในปัจจุบันมีการค้นพบและศึกษาสมบัติของธาตุมากขึ้นจึงมีการนำธาตุมาใช้ประโยชน์ได้หลากหลายมากขึ้นในหัวข้อนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของธาตุบางชนิดรวมทั้งศึกษาถึงผลกระทบที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
27 ประโยชน์ของธาตุการจำแนกธาตุออกเป็นกลุ่มนอกจากจะช่วยให้ง่ายต่อการศึกษาสมบัติของธาตุแล้วยังงานตอการพิจารณาสมบัติที่เหมาะสมในการนำไปประยุกต์ใช้งานได้อีกด้วยตัวอย่างการใช้ประโยชน์จากธาตุดังนี้ธาตุโลหะมีสมบัติการนำความร้อนและนำไฟฟ้าได้ดีจึงนิยมนำมาทำเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าเช่นนำทองแดงมาทำสายไฟฟ้านำสังกะสีมาทำขั้วไฟฟ้าของถ่านไฟฉายนำลิเทียมมาทำขั้วไฟฟ้าในแบตเตอรี่ลิเทียมนำโซเดียมมาเป็นตัวกลางแลกเปลี่ยนความร้อนและหล่อเย็นในปฏิกรณ์นิวเคลียร์ธาตุกึ่งโลหะเช่นซิลิคอนเจอร์เมเนียมมีสมบัติถ้ำกึ่งระหว่างสมบัติของโลหะกับอโลหะ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น