วันอังคารที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2562

3.2 พันธะไอออนิก


พันธะไอออนิก ( Ionic bond ) หมายถึงแรงยึดเหนี่ยวที่เกิดในสารประกอบที่เกิดขึ้นระหว่าง 2 อะตอมอะตอมที่มีค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีต่างกันมาก อะตอมที่มีค่าอิเลคโตรเนกาติวิตีน้อยจะให้อิเลคตรอนแก่อะตอมที่มีค่าอิเลคโตรเนกาติวิตีมาก และทำให้อิเล็กตรอนที่อยู่รอบๆ อะตอมครบ 8 (octat rule ) กลายเป็นไอออนบวก และไอออนลบตามลำดับ เกิดแรงดึงดูดทางไฟฟ้าระหว่างไอออนบวกและไอออนลบ และเกิดเป็นโมเลกุลขึ้น เช่น การเกิดสารประกอบ NaCl
 

    จากตัวอย่าง Na ซึ่งมีวาเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 1 ได้ให้อิเล็กตรอนแก่ Cl ที่มีวาเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 7 จึงทำให้ Na และ Cl มีวาเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8 เกิดเป็นสารประกอบไอออนิก
สมบัติของสารประกอบไอออนิก
1. มีขั้ว เพราะสารประกอบไอออนิกไม่ได้เกิดขึ้นเป็นโมเลกุลเดี่ยว แต่จะเป็นของแข็งซึ่งประกอบด้วยไอออนจำนวนมาก ซึ่งยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงยึดเหนี่ยวทางไฟฟ้า
2. ไม่นำไฟฟ้าเมื่ออยู่ในสภาพของแข็ง แต่จะนำไฟฟ้าได้เมื่อใส่สารประกอบไอออนิกลงในน้ำ ไอออนจะแยกออกจากกัน ทำให้สารละลายนำไฟฟ้าในทำนองเดียวกันสารประกอบที่หลอมเหลวจะนำไฟฟ้าได้ด้วยเนื่องจากเมื่อหลอมเหลวไอออนจะเป็นอิสระจากกัน เกิดการไหลเวียนอิเลคตรอนทำให้อิเลคตรอนเคลื่อนที่จึงเกิดการนำไฟฟ้า
3 . มีจุหลอมเหลวและจุดเดือดสูง      ความร้อนในการทำลายแรงดึงดูดระหว่างไอออนให้กลายเป็นของเหลวต้องใช้พลังงานสูง
4 . สารประกอบไอออนิกทำให้เกิดปฏิกิริยาไอออนิก คือ ปฏิกิริยาระหว่างไอออนกับไอออน ทั้งนี้เพราะสารไอออนิกจะเป็นไอออนอิสระในสารละลาย ปฏิกิริยาจึงเกิดทันที
5 . สมบัติไม่แสดงทิศทางของพันธะไอออนิก สารประกอบไอออนิกเกิดจากไอออนที่มีประจุตรงกันข้ามรอบ ๆ ไอออนแต่ละไอออนจะมีสนามไฟฟ้าซึ่งไม่มีทิศทาง จึงทำให้เกิดสมบัติไม่แสดงทิศทางของพันธะไอออนิก
6. เป็นผลึกแข็ง แต่เปราะและแตกง่าย
การอ่านชื่อสารประกอบไออนิก
กรณีเป็นสารประกอบธาตุคู่ ให้อ่านชื่อธาตุที่เป็นประจุบวก แล้วตามด้วยธาตุประจุลบ โดยลงท้ายเสียงพยางค์ท้ายเป็น ไอด์” (ide) 
 กรณีเป็นสารประกอบธาตุมากกว่าสองชนิด ให้อ่านชื่อธาตุที่เป็นประจุบวก แล้วตามด้วยกลุ่มธาตุที่เป็นประจุลบได้เลย เช่น  
กรณีเป็นสารประกอบธาตุโลหะทรานซิชัน ให้อ่านชื่อธาตุที่เป็นประจุบวกและจำนวนเลขออกซิเดชันหรือค่าประจุของธาตุเสียก่อน โดยวงเล็บเป็นเลขโรมัน แล้วจึงตามด้วยธาตุประจุลบ 

3.1 สัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสและกฎออกเตต


แบบจำลองลิวอิส
สัญลักษณ์แบบจุด (elecn-dot symbol)
สัญลักษณ์ทางเคมีของธาตุ ล้อมรอบด้วยจุดที่แทนเวเลนซ์อิเล็กตรอน
ธาตุในหมู่เดียวกัน จะมีสัญลักษณ์แบบจุดคล้ายกัน
วิธีการเขียนสูตรแบบจุด
1. เขียนสัญลักษณ์
2. จำนวนจุดเท่ากับจำนวน valence electron หรือเลขหมู่
3. เติมทีละจุดลงที่แต่ละด้านของสัญลักษณ์ก่อนจึงค่อยเติมเป็นคู่ จนกระทั่งหมด
4. รูปแบบการวางจุดไม่สำคัญ
5. การวางจุดแทนพฤติกรรมในการสร้างพันธะจุดเดี่ยวของ metal แสดงจำนวน e- ที่อะตอมสูญเสียในการเกิดประจุบวกจุดเดี่ยวของ nonmetal แสดงจำนวน e- ที่อะตอมได้รับเมื่อเกิดประจุลบหรือจะจับคู่กับอะตอมอื่นในการเกิดพันธะโคเวเลนต
วิธีการเขียนสูตรแบบเส้น
1 เส้นแทนพันธะเดี่ยว ใช้2จุด
2 เส้นแทนพันธะคู๋      ใช้4จุด
3 เส้นแทนพันธะสาม  ใช้6จุด
ออกเตต
แนวคิดของลิวอิส :อะตอมต่าง ๆ จะเข้ารวมตัวกันโดยจัดอิเล็กตรอนให้มีเสถียรภาพสูงขึ้น และเสถียรภาพสูงสุดจะเกิดขึ้นเมื่ออะตอมมีการจัดอิเล็กตรอนเหมือนแก๊สมีตระกูล
#แก๊สทุกตัวสเถียรโดยการทำให้เวเลนต์อิเล็กตรอนเท่ากับธาตุหมู่8

2.6 ธาตุกัมันตรังสี


2 .6 ธาตุกัมมันตรังสี
            ธาตุอีกกลุ่มหนึ่งในตารางธาตุซึ่งมีสมบัติแตกต่างจากธาตุที่เคยศึกษามาแล้วคือสามารถแต่งแล้วกลายเป็นอะตอมของธาตุใหม่ได้นักเรียนคิดว่าการเปลี่ยนแบลงเหล่านี้เกิดขึ้นได้อย่างไรในปีพ. ศ. 2430 อองตวนอองรีแบทเกอเรส (Antoine Fitnri Becquerel) นักวิทยาศาสตร์ขาวฝรั่งเศสพบว่าเมื่อเก็บแผ่นฟิล์มถ่ายรูปที่หุ้มด้วยกระดาษสีดำไว้กับสารประกอบของยูเรเนียมแผนฟิล์มจะมีลักษณะเหมือนถูกแสงและเมื่อทำการทดลองกับสารประกอบของยูเรเนียมชนิดอื่น ๆ ก็ได้ผลเช่นเดียวกันจึงสรุปว่าน่าจะมีรังสีแผ่ออกมาจากธาตุยูเรเนียมต่อมาปีแอร์ตูรีและมารี Pierr Curie Marie Curie) ได้ค้นพบว่าธาตุพอโลเนียมเรเดียมและพอเรียมก็สามารถแผ่รังสีได้เช่นเดียวกันปรากฏการณ์ที่ธาตุแผ่รังสีได้เองอย่างต่อเนื่องเรียกว่ากัมมันตภาพรังสี (Tradioactivity) ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียสของไอโซโทปที่ไมเสถียรและไอโซโทปของธาตุที่สามารถแผ่รังสีใต้เองอย่างต่อเนื่องเรียกว่าไอโซโทปกัมมันตรังสี (radioactive Isotoppe) หรือสารกัมมันตรังสี (radioactive substance) เช่น Carbon-14 (C-14) สำหรับธาตุที่ทุกไอโซโทปเป็นไอโซโทบกัมมันตรังสีจะเรียกธาตุที่มีสมบัติเช่นนี้วาธาตุกัมมันตรังสี radioactive element) ธาตุกัมมันตรังสีส่วนใหญ่มีเลขอะตอมสูงกว่า 837 เช่น U-238 U-235 Th-232 ในธรรมชาติพบธาตุกัมมันตรังสีหลายสชนิด นอกจากนี้นักวิทยาศาสตร์ยังสังเคราะห์ธาตุกัมมันตรังสีขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ
2. 4. 1 วิวัฒนาการของการสร้างตารางธาตุเมื่อมีการค้นพบธาตุและศึกษาสมบัติของธาตุต่าง ๆ เหล่านี้แล้วนักวิทยาศาสตร์ได้หาความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติต่าง ๆ ของธาตุและนำมาใช้จัดธาตุเป็นกลุ่มใต้หลายแบบในปีพ. ศ. 2360 โยฮันน์โวล์ฟกังเดอเบอไรเนอร์ (Johann Wolfgang Dobereiner) เป็นนักเคมีคนแรกที่พยายามจัดธาตุเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3 ธาตุตามสมบัติที่คล้ายคลึงกันเรียกว่าชุดสาม (triads) โดยพบว่าธาตุกลางจะมีมวลอะตอมเป็นค่าเฉลี่ยของมวลอะตอมของอีกสองธาตุที่เหลือ Na มีมวลอะตอม 23. 0 และเป็นธาตุกลางระหว่าง Li กับ K ซึ่งมีมวลอะตอม 6. 9 และ 39. 1 ตามลำดับตัวอย่างการจัดธาตุแบบชุดสามแสดงได้ดังตาราง 2. 8 แต่เมื่อนำหลักของชุดสามไปใช้กับธาตุกลุ่มอื่นที่มีสมบัติคล้ายกันพบว่าค่ามวลอะตอมของธาตุกลางไม่เท่ากับค่าเฉลี่ยของมวลอะตอมของสองธาตุที่เหลือหลักชุดสามของเดอเบอไรเนอร์จึงไม่เป็นที่ยอมรับในเวลาต่อมา
ในปี 2412 ยูลิอุสโลทาร์ไมเออร์ (Julius Lothar Meyer) นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันและดิมิทรีเมนเดเลเอพ (Dinitr Mendeley) นักวิทยาศาสตร์ชาวรัสเซียได้ศึกษารายละเอียดของธาตุต่าง ๆ มากขึ้นทําให้มีข้อสังเกตว่าถ้าเรียงธาตุตามมวลอะตอมจากน้อยไปมากจะพบว่าธาตุมีสมบัติคล้ายกันเป็นช่วง ๆ การที่ราดต่างบนขวง ๆ การที่ธาตุต่าง ๆ มีสมบัติคล้ายกันเป็นช่วงเขนนี้เมนเตเลเอฟตั้งเป็นกฎเรียกว่ากฎพรีออติก (periodic law) การจัดราตุเป็นหมวดหมู่ของเมนเดเลเอฟไม่ได้ขีดการเรียงลำดับตามมวลอะตอมจากน้อยไปมากเพียงอย่างเดียวแต่ได้นำสมบัติที่คล้ายคลึงกันของธาตุที่ปรากฏซ้ำกันเป็นช่วง ๆ มาพิจารณาด้วยนอกจากนี้ยังได้เว้นช่องวางไว้โดยคิดว่าน่าจะเป็นตำแหน่งของธาตุที่ยังไม่ได้มีการค้นพบโดยที่ตำแหน่งของธาตุในตารางธาตุมีความสัมพันธ์กับสมบัติของธาตุเมนเตเลเอฟจึงได้ทำนายสมบัติของธาตุที่ยังไม่มีการค้นพบ 3 ธาตุให้ชื่อว่าเอคา-โบรอนเอคาอะลูมิเนียมและเอคา-ซิลิคอนในเวลาต่อมาก็ได้ค้นพบธาตุสแกนเดียมแกลเลียมและเจอร์เมเนียมตามลำดับซึ่งมีสมบัติใกล้เคียงกับที่ได้ทำนายไว้ตัวอย่างธาตุเอคา-ซิลิคอนซึ่งมีสมบัติใกล้เคียงกับธาตุเจอร์เมเนียมเป็นดังนี้
2 กลุ่มของธาตุในตารางธาตุการที่นักวิทยาศาสตร์จัดรายในขนตารางธาตุเป็นหมู่และคาบเพื่อให้ง่ายต่อการศึกษาสมบัติของธาตุต่าง ๆ ตาแบงกลุ่มธาตุตามสมบัติความเป็นโลหะจะแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มคือธาตุโลหะ (metal) เป็นธาตุที่น้าไฟฟ้าและนำความร้อนได้ดีราตถึงโลหะ (metaloid) เป็นธาตุที่น้ำไฟฟ้าได้ไม่ดีที่อุณหภูมงแต่จะนำได้ดีขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นและธาตุอโลหะ nonmetal) ซึ่งใน * 9105Mnonmetal) ซึ่งไม่น่าไฟฟ้ายกเว้นคาร์บอนแกรไฟต์) และฟอสฟอรัสเมื่อพิจารณาตำแหน่งของธาตุในตารางธาตุตามรูป 2. 19 พบว่าธาตุโลหะอยู่ทางด้านซ้ายมือของตารางธาตุ (สีเขียว) ธาตุกึ่งโลหะจะอยู่บริเวณที่เป็นขั้นบันไดสีชมพู) และธาตุอโลหะจะอยู่ขวามือของตารางธาตุ (สีฟ้า) ยกเว้นไฮโดรเจนอยู่ทางด้านซ้ายมือของตารางธาตุถ้าแบ่งกลุ่มธาตุในตารางธาตุโดยพิจารณาการจัดเรียงอิเล็กตรอนในออร์บิทัล s p d และ f ที่มีพลังงานสูงสุดและมีอิเล็กตรอนบรรจุอยู่จะแบ่งธาตุได้เป็น 4 กลุ่มใหญ่คือธาตุกลุ่ม s ได้แก่ธาตุ 1 และ 2 ธาตุกลุ่ม p ได้แก่ ธาตุในหมู่ 13 ถึง 18 (ยกเว้น Fie) ธาตุกลุ่ม A ได้แก่ ธาตุในหมู่ 12 ส่วนธาตุในกลุ่ม f ได้แก่ กลุ่มธาตุที่อยู่ด้านล่างของตารางธาตุที่แยกมาจากหมู่ 3 คาบที่ดังรูป
2 13 นนาดอะตอมตามแบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนที่อยู่รอบนิวเคลียสจะเผสือนที่ตลอดเวลาด้วยความเร็วสูงและไม่สามารถบอกตำแหน่งที่แน่นอนรวมทั้งไม่สามารถกำหนดขอบเขตที่แน่นอนของอิเล็กตรอนได้นอกจากนี้อะตอมโดยทั่วไปไม่อยู่เป็นอะตอมเดียวแตจะมีแรงยึดเหนียวระหว่างอะตอมไว้ด้วยกันจึงเป็นเรื่องยากที่จะวัดขนาดอะตอม (atomic radius) ที่อยู่ในภาวะอิสระหรือAxนั้นเidเสริมพฯกนวมยาศาคตและเทคโนโลยี
2. 4. 4 ขนาดไอออนอะตอมซึ่งมีจำนวนโปรตอนเทากับอิเล็กตรอนเมื่อรับอิเล็กตรอนเพิ่มเข้ามา 28 / uอะตอมจะกลายเป็นไอออนการบอกขนาดของไอออนทำได้เช่นเดียวกับการบอกขนาดอะตอมAdาวคอจะบอกเป็นค่ารัศมีไอออน (Ionic radius) ซึ่งพิจารณาจากระยะระหว่างนิวเคลียสของไอออนคู่หนึ่ง ๆ ที่ยึดเหนี่ยวซึ่งกันและกันในโครงผลึกตัวอย่างรัศมีไอออนของ ME และ 0 ในสารประกอบ MgO แสดงดังรูป 2. 22 และ 2. 23
พลังงานไอออไนเซชั้นพลังงานปริมาณน้อยที่สุดที่ทำให้อิเล็กตรอนหลุดจากอะตอมในสถานะ (Anninition energy. IF โดยคา IE แสดงถึงความยางานในการท้าให้อะตอมในสถานะแก็สกลายเป็นไอออนบวกโดยเEน้อยแสดงราทำให้เป็นใอออนบวกได้รายเด้า 1 มกแสดงว่าทำให้เป็นไอออนบวกได้ยากการทำาให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะแก็สกลายเป็นไฮโดรเจนไอออนในสถานะแก็สเขียนgE) • I "(H) + (การท้าให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมของไฮโดรเจนจะต้องใช้พลังงานอย่างน้อยที่สุดกิโลจูลต่อโมลนั้นคือพลังงานไอออไนเซชันของไฮโดรเจนอะตอมเท่ากับ 1315 กิโลจูลตอไมลอิเล็กตรอนจึงมีค่าพลังงานไอออไนเซชันเพียงคาเดียวถ้าเป็นธาตุที่มีหลายอิเล็กตรอนก็จะมีพลังงานไอออไนเซชันหลายค่าพลังงานน้อยที่สุดที่ทำให้อิเล็กตรอนตัวแรกหลุดออกสัญลักษณ์ของพลังงานได้สมในเซชั่น IPM ให้เป็น 2
2019.09.11 วันพุธ
2. 6สาตุกัมมันตรังสีธาตุอีกกลุ่มหนึ่งในตารางธาตุซึ่งมีสมบัติแตกต่างจากธาตุที่เคยศึกษามาแล้วคือสามารถแต่งแล้วกลายเป็นอะตอมของธาตุใหม่ได้นักเรียนคิดว่าการเปลี่ยนแบลงเหล่านี้เกิดขึ้นได้อย่างไรในปีพ. ศ. 2430 อองตวนอองรีแบทเกอเรส (Antoine Fitnri Becquerel) นักวิทยาศาสตร์ขาวฝรั่งเศสพบว่าเมื่อเก็บแผ่นฟิล์มถ่ายรูปที่หุ้มด้วยกระดาษสีดำไว้กับสารประกอบของยูเรเนียมแผนฟิล์มจะมีลักษณะเหมือนถูกแสงและเมื่อทำการทดลองกับสารประกอบของยูเรเนียมชนิดอื่น ๆ ก็ได้ผลเช่นเดียวกันจึงสรุปว่าน่าจะมีรังสีแผ่ออกมาจากธาตุยูเรเนียมต่อมาปีแอร์ตูรีและมารี Pierr Curie Marie Curie) ได้ค้นพบว่าธาตุพอโลเนียมเรเดียมและพอเรียมก็สามารถแผ่รังสีได้เช่นเดียวกันปรากฏการณ์ที่ธาตุแผ่รังสีได้เองอย่างต่อเนื่องเรียกว่ากัมมันตภาพรังสี (Tradioactivity) ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียสของไอโซโทปที่ไมเสถียรและไอโซโทปของธาตุที่สามารถแผ่รังสีใต้เองอย่างต่อเนื่องเรียกว่าไอโซโทปกัมมันตรังสี (radioactive Isotoppe) หรือสารกัมมันตรังสี (radioactive substance) เช่น Carbon-14 (C-14) สำหรับธาตุที่ทุกไอโซโทปเป็นไอโซโทบกัมมันตรังสีจะเรียกธาตุที่มีสมบัติเช่นนี้วาธาตุกัมมันตรังสี radioactive element) ธาตุกัมมันตรังสีส่วนใหญ่มีเลขอะตอมสูงกว่า 837 เช่น U-238 U-235 Th-232 ในธรรมชาติพบธาตุกัมมันตรังสีหลายสชนิด นอกจากนี้นักวิทยาศาสตร์ยังสังเคราะห์ธาตุกัมมันตรังสีขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ
2. 6. 1 การเกิดกัมมันตภาพรังสีกัมมันตภาพรังสีเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดกับไอโซโทปกัมมันตรังสีเพราะนิวเคลียสมีพลังงานสูงมากและไม่เสถียรจึงปล่อยพลังงานออกมาในรูปของอนุภาคหรือรังสีจากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์แสดงให้เห็นว่ารังสีที่แผ่ออกมาจากไอโซโทปกัมมันตรังสีอาจเป็นรังสีแอลฟา (alpha ray) รังสีบีตา (beta ray) หรือแกมมา (gamma ray
2.6.2การสลายตัวของไอโซโทปกัมมันตรัมจากการศึกษาไอโซโทปของธาตุจํานวนมากทำให้ได้ข้อสังเกตว่าไอโซโทปของนิวเคลีนสที่มีอัตราส่วนระหว่างจ้านวนนิวตรอนตอจำนวนโปรตอนไม่เหมาะสมคือนิวเคลียสที่มีจานวนนิวตรอนแตกต่างจากฐานวนโปรตอนมากเกินไปจะไม่เสถียรจึงเกิดการเปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียสโตนการแผ่รังสี (radiation) ออกมาแล้วเกิดเป็นนิวเคลียสของธาตุใหม่ที่เสถียรกว่าดังตัวอย่างต่อไปนี้การแผ่รังสีแอลฟาส่วนใหญ่เกิดกับนิวเคลียสที่มีเลขอะตอมสูงกว่า 83 และมีจำนวนนิวตรอนต่อโปรตอนในสัดส่วนที่ไม่เหมาะสมเมื่อปล่อยรังสีแอลฟาออกมาจะกลายเป็นนิวเคลียสของธาตุใหม่ที่เสถียรซึ่งมีเลขอะตอมลดลงและเลขมวลลดลง 4
การแผ่รังสีบีตาเกิดกับนิวเคลียสที่มีจำนวนนิวตรอนมากกว่าโปรตอนมากนิวตรอนในนิวเคลียสละเปลี่ยนไปเป็นโปรตอนและอิเล็กตรอนซึ่งอิเล็กตรอนจะถูกปลดปล่อยออกจากนิวเคลียสในรูปของรังสีบีตาและนิวเคลียสใหม่จะมีเลขอะตอมเพิ่มขึ้น 1 โดยที่เลขมวลยังคงเดิม
การแผ่รังสีแกมมาเกิดกับไอโซโทปกัมมันตรังสีที่มีพลังงานสูงมากหรือไอโซโทปที่สลายตัวให้รังสีแอลฟาหรือบีตาแต่นิวเคลียสที่เกิดใหม่ยังไม่เสถียรเพราะมีพลังงานสูงจึงเกิดการเปลี่ยนแปลงในนิวเคลียสเพื่อให้มีพลังงานต่ำลงโดยปล่อยพลังงานสวนเกินออกมาเป็นรังสีแกมมา
2. 6. 3 อันตรายจากไอโซโทปกัมมันตรังสีกิจวัตรต่างในชีวิตประจำวันทั้งการรับประทานอาหารการดื่มน้ำการหายใจล้วนมีโอกาสมนษย์จะได้รับรังสีจากไอโซโทปกัมมันตรังสีเช่น K-40 C-14 Ra-226 เข้าสร่างกายนอกจากนี้ะได้รับรังสีคอสมิก (Cosmic ray) ซึ่งส่วนใหญ่มาจากอวกาศรังสีต่าง ๆ เหล่านี้มีแหล่งกำเนิดจากธรรมชาตินอกจากนี้บางคนยังได้รับรังสีที่มนุษย์สร้างขึ้นมา เช่น รังสีจากเครื่องเอกซเรย์รังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
2.6.4 ครึ่งชีวิตของไอโซโทปกัมมันตรังสีไอโซโทปกัมมันตรังสีจะสลายตัวให้รังสีชนิดใดชนิดหนึ่งออกมาได้เองตลอดเวลาไอโซโทปรับมันตรังสีแต่ละชนิดจะสลายตัวได้เร็วหรือช้าแตกต่างกันอัตราการสลายตัวของไอโซโทปกัมมันตรังสีจะบอกเป็นครึ่งช่วด (half life) ใช้สัญลักษณ์ระยะเวลาที่นิวเคลียสของไอโซโทปกัมมันตรังสีสลายตัวจนเหลือครึ่งหนึ่งของปริมาณเดิมไอโซโทบกัมมันตรังสีของธาตุชนิดหนึ่ง ๆ จะมีครึ่งชีวิตคงเดิมไม่ว่าจะอยู่ในรูปของธาตุหรือเกิดเป็นสารประกอบเขน Na-24 มีครึ่งชีวิต 15 หมายความว่าถ้าเริ่มต้นมี Na-24 ปริมาณ 10 กรัมนิวเคลียลนี้จะสลายตัวให้รังสีออกมาจนกระทั่งเวลาผ่านไปครบ 15 ชั่วโมงจะมี Na-24 เหลืออยู่ 5 กรัมและเมื่อเวลาผ่านไปอีก 15 ชั่วโมงจะมี Na-24 เหลืออยู่ 2. 5 กรัมนั้นคือเวลาผ่านไปทุก ๆ 15 ชั่วโมง Na-24 จะสลายตัวไปเหลือเพียงครึ่งหนึ่งของปริมาณเดิมเขียนแสดง
2. 6. 5 ปฏิกิริยานิวเคลียร์ปธกิริยานิวเคลียร์เป็นการเปลี่ยนแปลงในนิวเคลียสของไอโซโทปกัมมันตรังสีอาจเกิดจากการะหรือเกิดจากการรวมตัวของนิวเคลียสของอะตอมมาดเล็กแล้วได้ไอโซโทปใหม่หรือนิวเคลียสของธาตุใหม่รวมทั้งมีพลังงานเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาเป็นจำนวนมหาศาลซึ่งสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ในปีพ. ศ. 2482 นักวิทยาศาสตร์ได้ค้นพบว่าเมื่อยิงอนุภาคนิวตรอนไปยังนิวเคลียสของ U-235 นิวเคลียสจะแตกออกเป็นนิวเคลียสของธาตุที่เบากว่า
2.6.6 เทคโนโลยีการใช้ักัมมันตรังสี
2.7 การนำธาตุเปใช้ประโยชน์และผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตมนุษย์นำธาตุมาใช้ประโยชน์ตั้งแต่อดีตกาลเช่นน้ำทองค้ามาทำเครื่องประดับนำเหล็กมาทำมีดน้ำหองแดงมาห้าภาชนะเครื่องใช้ในปัจจุบันมีการค้นพบและศึกษาสมบัติของธาตุมากขึ้นจึงมีการนำธาตุมาใช้ประโยชน์ได้หลากหลายมากขึ้นในหัวข้อนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของธาตุบางชนิดรวมทั้งศึกษาถึงผลกระทบที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 27 ประโยชน์ของธาตุการจำแนกธาตุออกเป็นกลุ่มนอกจากจะช่วยให้ง่ายต่อการศึกษาสมบัติของธาตุแล้วยังงานตอการพิจารณาสมบัติที่เหมาะสมในการนำไปประยุกต์ใช้งานได้อีกด้วยตัวอย่างการใช้ประโยชน์จากธาตุดังนี้ธาตุโลหะมีสมบัติการนำความร้อนและนำไฟฟ้าได้ดีจึงนิยมนำมาทำเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าเช่นนำทองแดงมาทำสายไฟฟ้านำสังกะสีมาทำขั้วไฟฟ้าของถ่านไฟฉายนำลิเทียมมาทำขั้วไฟฟ้าในแบตเตอรี่ลิเทียมนำโซเดียมมาเป็นตัวกลางแลกเปลี่ยนความร้อนและหล่อเย็นในปฏิกรณ์นิวเคลียร์ธาตุกึ่งโลหะเช่นซิลิคอนเจอร์เมเนียมมีสมบัติถ้ำกึ่งระหว่างสมบัติของโลหะกับอโลหะ

2.5 ธาตุทรานซิชัน


ธาตุทรานซิชัน เป็นธาตุในตารางหมู่B ทั้งหมด
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ตารางธาตุทรานซิชัน
สมบัติของโลหะทรานซิชัน
โลหะทรานซิชันทุกธาตุจะเป็นโลหะ แต่มีความเป็นโลหะน้อยกว่าธาตุหมู่ IA และ IIA
มีสถานะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง ยกเว้นปรอทที่เป็นของเหลว
มีจุดหลอมเหลว จุดเดือด และความหนาแน่นสูง
นำไฟฟ้าได้ดี ซึ่งในโลหะทรานซิชัน ธาตุที่นำไฟฟ้าได้ดีที่สุดคือ เงิน (คาบ 5) และรองลงมาคือ ทอง (คาบ 6)
นำความร้อนได้ดี
ธาตุทรานซิชันทั้งหมดมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 2 ยกเว้นธาตุโครเมียม และทองแดง ที่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเป็น 1
สารประกอบของธาตุเหล่านี้จะมีสีสัน
มีพลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 และอิเล็กโทรเนกาติวิตีมาก
ขนาดอะตอม จะมีขนาดไม่แตกต่างกันมากโดยที่
ในคาบเดียวกันจะเล็กจากซ้ายไปขวา
ในหมู่เดียวกันจะใหญ่จากบนลงล่าง
ธาตุเหล่านี้มีหลายออกซิเดชั่นสเตตส์ (oxidation states)
ธาตุเหล่านี้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (catalysts) ที่ดี
ธาตุเหล่านี้มีสีฟ้า-เงินที่อุณหภูมิห้อง (ยกเว้นทองคำและทองแดง)
สารประกอบของธาตุเหล่านี้สามารถจำแนกโดยการวิเคราะห์ผลึก

2 4ตารางธาตุและสมบัติของธสตุหมู่หลัก


2. 4. 1 วิวัฒนาการของการสร้างตารางธาตุเมื่อมีการค้นพบธาตุและศึกษาสมบัติของธาตุต่าง ๆ เหล่านี้แล้วนักวิทยาศาสตร์ได้หาความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติต่าง ๆ ของธาตุและนำมาใช้จัดธาตุเป็นกลุ่มใต้หลายแบบในปีพ. ศ. 2360 โยฮันน์โวล์ฟกังเดอเบอไรเนอร์ (Johann Wolfgang Dobereiner) เป็นนักเคมีคนแรกที่พยายามจัดธาตุเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3 ธาตุตามสมบัติที่คล้ายคลึงกันเรียกว่าชุดสาม (triads) โดยพบว่าธาตุกลางจะมีมวลอะตอมเป็นค่าเฉลี่ยของมวลอะตอมของอีกสองธาตุที่เหลือ Na มีมวลอะตอม 23. 0 และเป็นธาตุกลางระหว่าง Li กับ K ซึ่งมีมวลอะตอม 6. 9 และ 39. 1 ตามลำดับตัวอย่างการจัดธาตุแบบชุดสามแสดงได้ดังตาราง 2. 8 แต่เมื่อนำหลักของชุดสามไปใช้กับธาตุกลุ่มอื่นที่มีสมบัติคล้ายกันพบว่าค่ามวลอะตอมของธาตุกลางไม่เท่ากับค่าเฉลี่ยของมวลอะตอมของสองธาตุที่เหลือหลักชุดสามของเดอเบอไรเนอร์จึงไม่เป็นที่ยอมรับในเวลาต่อมา
ในปี 2412 ยูลิอุสโลทาร์ไมเออร์ (Julius Lothar Meyer) นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันและดิมิทรีเมนเดเลเอพ (Dinitr Mendeley) นักวิทยาศาสตร์ชาวรัสเซียได้ศึกษารายละเอียดของธาตุต่าง ๆ มากขึ้นทําให้มีข้อสังเกตว่าถ้าเรียงธาตุตามมวลอะตอมจากน้อยไปมากจะพบว่าธาตุมีสมบัติคล้ายกันเป็นช่วง ๆ การที่ราดต่างบนขวง ๆ การที่ธาตุต่าง ๆ มีสมบัติคล้ายกันเป็นช่วงเขนนี้เมนเตเลเอฟตั้งเป็นกฎเรียกว่ากฎพรีออติก (periodic law) การจัดราตุเป็นหมวดหมู่ของเมนเดเลเอฟไม่ได้ขีดการเรียงลำดับตามมวลอะตอมจากน้อยไปมากเพียงอย่างเดียวแต่ได้นำสมบัติที่คล้ายคลึงกันของธาตุที่ปรากฏซ้ำกันเป็นช่วง ๆ มาพิจารณาด้วยนอกจากนี้ยังได้เว้นช่องวางไว้โดยคิดว่าน่าจะเป็นตำแหน่งของธาตุที่ยังไม่ได้มีการค้นพบโดยที่ตำแหน่งของธาตุในตารางธาตุมีความสัมพันธ์กับสมบัติของธาตุเมนเตเลเอฟจึงได้ทำนายสมบัติของธาตุที่ยังไม่มีการค้นพบ 3 ธาตุให้ชื่อว่าเอคา-โบรอนเอคาอะลูมิเนียมและเอคา-ซิลิคอนในเวลาต่อมาก็ได้ค้นพบธาตุสแกนเดียมแกลเลียมและเจอร์เมเนียมตามลำดับซึ่งมีสมบัติใกล้เคียงกับที่ได้ทำนายไว้ตัวอย่างธาตุเอคา-ซิลิคอนซึ่งมีสมบัติใกล้เคียงกับธาตุเจอร์เมเนียม
ตารางธาตุ ปัจจุบัน
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ตารางธาตุ ปัจจุบัน
2.4.2 กลุ่มของธาตุในตารางธาตุ
การที่นักวิทยาศาสตร์จัดรายในขนตารางธาตุเป็นหมู่และคาบเพื่อให้ง่ายต่อการศึกษาสมบัติของธาตุต่าง ๆ ตาแบงกลุ่มธาตุตามสมบัติความเป็นโลหะจะแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มคือธาตุโลหะ (metal) เป็นธาตุที่น้าไฟฟ้าและนำความร้อนได้ดีราตถึงโลหะ (metaloid) เป็นธาตุที่น้ำไฟฟ้าได้ไม่ดีที่อุณหภูมิแต่จะนำได้ดีขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นและธาตุอโลหะ nonmetal) ซึ่งใน * 9105Mnonmetal) ซึ่งไม่น่าไฟฟ้ายกเว้นคาร์บอนแกรไฟต์) และฟอสฟอรัสเมื่อพิจารณาตำแหน่งของธาตุในตารางธาตุตามรูป 2. 19 พบว่าธาตุโลหะอยู่ทางด้านซ้ายมือของตารางธาตุ (สีเขียว) ธาตุกึ่งโลหะจะอยู่บริเวณที่เป็นขั้นบันไดสีชมพู) และธาตุอโลหะจะอยู่ขวามือของตารางธาตุ (สีฟ้า) ยกเว้นไฮโดรเจนอยู่ทางด้านซ้ายมือของตารางธาตุถ้าแบ่งกลุ่มธาตุในตารางธาตุโดยพิจารณาการจัดเรียงอิเล็กตรอนในออร์บิทัล s p d และ f ที่มีพลังงานสูงสุดและมีอิเล็กตรอนบรรจุอยู่จะแบ่งธาตุได้เป็น 4 กลุ่มใหญ่คือธาตุกลุ่ม s ได้แก่ธาตุ 1 และ 2 ธาตุกลุ่ม p ได้แก่ ธาตุในหมู่ 13 ถึง 18 (ยกเว้น Fie) ธาตุกลุ่ม A ได้แก่ ธาตุในหมู่ 12 ส่วนธาตุในกลุ่ม f ได้แก่ กลุ่มธาตุที่อยู่ด้านล่างของตารางธาตุที่แยกมาจากหมู่ 3 คาบทุ6และ7ดังรูป
2 43 ขนาดอะตอมตามแบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนที่อยู่รอบนิวเคลียสจะ ที่ตลอดเวลาด้วยความเร็วสูงและไม่สามารถบอกตำแหน่งที่แน่นอนรวมทั้งไม่สามารถกำหนดขอบเขตที่แน่นอนของอิเล็กตรอนได้นอกจากนี้อะตอมโดยทั่วไปไม่อยู่เป็นอะตอมเดียวแต่จะมีแรงยึดเหนียวระหว่างอะตอมไว้ด้วยกันจึงเป็นเรื่องยากที่จะวัดขนาดอะตอม (atomic radius) ที่อยู่ในภาวะอิสระ
2. 4. 4 ขนาดไอออนอะตอมซึ่งมีจำนวนโปรตอนเทากับอิเล็กตรอนเมื่อรับอิเล็กตรอนเพิ่มเข้ามา 28 / แuอะตอมจะกลายเป็นไอออนการบอกขนาดของไอออนทำได้เช่นเดียวกับการบอกขนาดอะตอมAdาวคอจะบอกเป็นค่ารัศมีไอออน (Ionic radius) ซึ่งพิจารณาจากระยะระหว่างนิวเคลียสของไอออนคู่หนึ่ง ๆ ที่ยึดเหนี่ยวซึ่งกันและกันในโครงผลึกตัวอย่างรัศมีไอออนของ ME และ 0 ในสารประกอบ MgO 


2.4.5พลังงานไอออไนเซชั้นLพลังงานปริมาณน้อยที่สุดที่ทำให้อิเล็กตรอนหลุดจากอะตอมในสถานะ (Anninition energy. IF โดยคา IE แสดงถึงความยางานในการท้าให้อะตอมในสถานะแก็สกลายเป็นไอออนบวกโดยเEน้อยแสดงราทำให้เป็นใอออนบวกได้รายเด้า 1 มกแสดงว่าทำให้เป็นไอออนบวกได้ยากการทำาให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะแก็สกลายเป็นไฮโดรเจนไอออนในสถานะแก็สเขียนgE) • I "(H) + (การท้าให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมของไฮโดรเจนจะต้องใช้พลังงานอย่างน้อยที่สุดกิโลจูลต่อโมลนั้นคือพลังงานไอออไนเซชันของไฮโดรเจนอะตอมเท่ากับ 1315 กิโลจูลตอไมลอิเล็กตรอนจึงมีค่าพลังงานไอออไนเซชันเพียงคาเดียวถ้าเป็นธาตุที่มีหลายอิเล็กตรอนก็จะมีพลังงานไอออไนเซชันหลายค่าพลังงานน้อยที่สุดที่ทำให้อิเล็กตรอนตัวแรกหลุดออกสัญลักษณ์ของพลังงานได้สมในเซชั่น IPM ให้เป็น 2



2.3 การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม


2.3.1 จำนวนอิเล็กตรอนในแต่ละระดับพลังงาน
          จากการศึกษาแบบจำลองอะตอมทำให้ทราบว่าอะตอมประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอนอยู่รวมกันในนิวเคลียสโดยอิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยู่รอบรอบและอยู่ในระดับพลังงานต่างกันเล็กตอนเหล่านั้นอยู่กันอย่างไรและในแต่ละระดับพลังงานจะมีอิเล็กตรอนสูงสุดเท่าไหร่ให้พิจารณาข้อมูลแสดงการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุบางธาตุดังตาราง
                เมื่อพิจารณาข้อมูลแล้วจะพบว่าจำนวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 1 มีได้มากที่สุดคือ 2 อิเล็กตรอนระดับพลังงานที่ 2 มีได้มากที่สุดคือแบบอิเล็กตรอนสำหรับระดับพลังงานที่ 3 จากการสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมทำให้ทราบว่ามีมากที่สุด 18 อิเล็กตรอนด้วยคือจำนวนอิเล็กตรอนมากที่สุดที่มีได้ในแต่ระดับพลังงานจะมีค่าเท่ากับ 2n^2 เมื่อ n คือตัวเลขแสดงระดับพลังงานถ้าพิจารณาตามหลัก 2n^2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุ K และ Ca ควรเป็น 289 และจากการศึกษาพบว่าการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุ K และ Ca เป็น 2 8 8 1 และ 2 8 8 2 ตามลำดับซึ่งหมายความว่าอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 3 ของธาตุทั้งสองมีเพียง 8 อิเล็กตรอนและอิเล็กตรอนที่เพิ่มมา 1 และ 2 อิเล็กตรอนนั้นเข้าไปอยู่ในระดับพลังงานที่ 4 ทำให้ระดับพลังงานที่ 3 มีอิเล็กตรอนไม่ครบ 18 อิเล็กตรอน
2.3.2 ระดับพลังงานหลักและระดับพลังงานย่อย
            นักเรียนทราบมาแล้วว่าโบเสนอแบบจำลองโดยใช้ข้อมูลเกี่ยวกับเส้นสเปกตรัมของไฮโดรเจนซึ่งแสดงให้เห็นว่าอะตอมของไฮโดรเจนมีพลังงานหลายระดับและความแตกต่างระหว่างพลังงานของแต่ละระดับที่อยู่ถัดไปก็ไม่เท่ากันโดยความแตกต่างของพลังงานจะมีค่าน้อยลงเมื่อระดับพลังงานสูงขึ้นการอธิบายเกี่ยวกับเส้นสเปกตรัมของโบว์ได้จุดประกายให้นักวิทยาศาสตร์หลายคนเกิดความสนใจและศึกษาเกี่ยวกับเส้นสเปกตรัมมากขึ้น และพบว่าเส้นสเปกตรัมของไฮโดรเจนที่เปล่งแสงออกมาและมองเห็นเป็นหนึ่งเส้นแท้จริงนั้นประกอบด้วยเส้นสเปกตรัมมากกว่า 1 เส้นซึ่งนำไปสู่ข้อสรุปที่ว่าเส้นสเปกตรัมที่เกิดขึ้นนอกจากเป็นการคายพลังงานของอิเล็กตรอนจากระดับพลังงานหลักซึ่งแทนด้วย n แล้วยังเป็นการ พลังงานของอิเล็กตรอนจากระดับพลังงานย่อยของแต่ละระดับพลังงานหลักอีกด้วยนักวิทยาศาสตร์ได้กำหนดระดับพลังงานย่อยเป็นตัวอักษร s p d และ f ตามลำดับ
ระดับพลังงานที่ 1 (n = ) มี 1 ระดับพลังงานย่อยคือ s ระดับพลังงานหลักที่ 2 (n = 2) มี 2 ระดับพลังงานย่อยคือ s p ระดับพลังงานที่ 3 (n = 3) มี 3 ระดับพลังงานย่อยคือ s p d และระดับพลังงานหลักที่ 4 (n = 4) มี 4 ระดับพลังงานย่อยคือ s p d f
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ จัดเรียงอิเล็กตรอนแบบย่อย

2.3.3 ออร์บิทัล
            อิเล็กตรอนมีการเคลื่อนที่ตลอดเวลาความหนาแน่นของกลุ่มหมอกอิเล็กตรอน ซึ่งอยู่ในรูปของโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนซึ่งมีอาณาเขตและรูปร่างใน 3 มิติแตกต่างกันบริเวณรอบนิวเคลียสซึ่งมีโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนและมีพลังงานเฉพาะนี้เรียกว่าออเรนทอลการศึกษา พบว่าจำนวนออร์บิทัลในแต่ละพลังงานย่อยมีค่าแตกต่างกันซึ่งสรุปได้ดังนี้ระดับพลังงานย่อย s มี 1 ออร์บิทัล ระดับพลังงานย่อย p มี 3 ออร์บิทัล ระดับพลังงานย่อยดีมี 5 ออร์บิทัล รอบพลังงานย่อย f มี 7 ออร์บิทัล
           อิเล็กตรอนที่อยู่ในระดับพลังงานสูงสุดหรือชั้นนอกสุดของอะตอมเรียกว่า เวเลนซ์อิเล็กตรอน การบรรจุอิเล็กตรอน ตามลำดับระดับพลังงานโดยอาศัยแผนภาพตามหลัก อาฟบาว ดังที่กล่าวมาแล้ว มีบางธาตุที่การบรรจุอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยไม่ได้เป็นไปตามหลักการนั้น เช่น Cr มีเลขอะตอม 24 Cu มีเลขอะตอม 29
             ธาตุที่ได้รับหรือเสียอิเล็กตรอน สามารถเขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนได้ดังนี้ 1.กรณีที่ถ้าได้รับอิเล็กตรอน ให้บรรจุอิเล็กตรอนปกติรวมกับอิเล็กตรอนที่รับเข้ามาตามลำดับระดับพลังงานโดยอาศัยแผนภาพตามหลัก อาฟบาว 2.กรณีที่ถ้าเสียอิเล็กตรอนให้บรรจุอิเล็กตรอน ตามปกติก่อนจากนั้นจึงนำอิเล็กตรอนที่อยู่ชั้นนอกสุดออก