3.4 พันธะโลหะ
โลหะบางชนิดเช่นทองแดง (Ca) เหล็ก (Fe)
อะลูมิเนียม
(Al) มีสมบัติบางประการคล้ายกันแสดงว่าสารเหล่านี้มีการยึดเหนียวระหว่างอนุภาคทีเหมือนกันแล้วอะตอมธาตุโลหะสร้างพันธะเคมีเหมือนหรือต่างจากพันธะไอออนิกและพันธะโคเวเลนต์หรือไม่
3.4.1 การเกิดพันธะโลหะ
จากที่ทราบแล้วว่า
โลหะส่วนใหญ่มีสถานะเป็นของแข็งมี จุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูงผิวมันวาวยาและนำความร้อนได้ดีจากสมบัติดังกล่าวจะเห็นว่าโลหะมีสมบัติบางประการคล้ายกับไอออนิก
เช่นมีสถานะของแข็งจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูงแต่มีสมบัติบางประการสารประกอบไอออนิก
เช่นการนำไฟฟ้าและนำความร้อนได้ดีในสถานะของแข็งะสมบัติส่วนใหญ่ต่างจากพันธะโคเวเลนต์ซึ่งแสดงว่าโลหะน่าจะยึดเหนี่ยวกันด้วยการเกิดพันธะโลหะจากที่ทราบแล้วว่าโลหะส่วนใหญ่สามารถนำไฟฟ้าและนำความรู้สารประกอบไอออนิกเช่นมีสถานที่แตกต่างจากสารประกอบไอออนิกผิวมันวาวและสมบัติส่วนใหญ่ต่างจากพันธะที่แตกต่างจากพันธะไอออนิกและพันธะโคเวเลนต์
การที่อะตอมของโลหะมีคาพลังงานไอออไนเซชันตาการยึดเหนี่ยวระหว่างเวเลนซ์อิเล็กตรอนโปรตอนในนิวเคลียสจึงน้อยทำให้เวเลนซ์อิเล็กตรอนของแต่ละอะตอมสามารถเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระไปทั่วทั้งขึ้นโลหะและเกิดการยึดเหนียวกับโปรตอนในนิวเคลียสทุกทิศทุกทางการยึดเหนี่ยวนี้เรียกวาพันธะโลหะ
(metallic bond) การเกิดพันธะโลหะอาจแสดงได้ด้วยแบบจำลองทะเลอิเล็กตรอน model)
3. 4. 2:สมบัติของโลหะ
อะตอมโลหะอยู่ค่อนข้างชิดกันและเรียงต่อเนื่องกันไม่มีที่สิ้นสุดโดยมีอิเล็กตรอนเคลื่อนมาเฉพาะตัวหลายประการที่แตกต่างจากสารอื่น102และจุดเดือดสูงเนื่องจากมีโปรตอนและอิเล็กตรอนจําน
วนมากยึดเหนี่ยวทำให้กลายเป็นไอจึงต้องใช้พลังงานสูงเพื่อทำลายพันธะโลหะเหล่านี้ เช่น การหลอมเหลวทองแดงต้องใช้อุณหภูมิสูงถึง 1055
องศาเซลเซียสและการทำให้ทองแดงที่หลอมเหลวและเดือดกลายเป็นไอต้องใช้อุณหภูมิสูงถึง
2572 องศาเซลเซียส
โลหะสมบัติเฉพาะตัวหลายประการโลหะมีจุดหลอมเหลวสูงเนื่องจากมีโปรตอนกันอย่างต่อเนื่องทุกอะตอมการหลอมเหลวหรือทำให้กลายเป็นพันธะโลหะเหล่านี้เช่นการหลอมเหลว
ทองแดงต้องใช้ทองแดงที่หลอมเหลวแล้วเดือดกลายเป็นไอต้องใช้อุณหภูมิสูงถึง-2
/ โลหะมีผิวมันวาวและสามารถสะท้อนแสงได้ซึ่งเกิดจากกลุ่มมอกระทบกับแสงซึ่งเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าอิเล็กตรอนเหล่านั้นจะรับและปล่อยคลื่นแสงออกมาผิวของโลหะจึงเป็นมันวาวและสะท้อนแสงได้ดีโลหะน้าไฟฟ้าและนำความร้อนได้ดีเนื่องจากเวเลนซ์อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ได้อย่างอิสระทั้ง
โลหะสามารถเป็นสื่อนำไฟฟ้าและความร้อนต่อเนื่องกันได้ทั่วปืนโลหะนอกจากนี้โลหะยังสามารถติให้แผ่ออกเป็นแผ่นและดึงเป็นเส้นได้ เนื่อ งจากอะตอมโลหะจัดเรียงตัวเป็นชั้น ๆ
อย่างมีระเบียบการทุบแผ่นโลหะเป็นการผลักให้ชั้นของอะตอมโลหะเลื่อนไถลออกไปจากตำแหน่งเดิมทำให้แผ่นโลหะยาวออกไปและบางลงแต่อะตอมของโลหะในตำแหน่งใหม่ไม่หลุดออกจาก
กันเพราะมีกลุ่มเวเลนซ์อิเล็กตรอนยึดอนุภาคเหล่านั้นไว้ดังนั้นจึงตีหรือรีดโลหะให้
ๆ หรือตัดให้โค้งงอหรือซึ่งเป็นเส้นได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น